วันศุกร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมร้านเช่ารถมอเตอร์ไซต์
yengo หรือ buzzcity
วันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมการแปลงเลขฐาน 10 เป็นเลขฐาน 2
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมการแปลงเลขฐาน 10 เป็นเลขฐาน 2
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมการแปลงเลขฐาน โดยการแปลงเลข 10 เป็นเลขฐาน 2ตัวอย่างโค้ด
import java.util.ArrayList;import java.util.List;
public class JavaCodeExam {
public static void main(String[] args) {
int a10 = 84;
List<Integer> ans = new ArrayList<Integer>();
do{
int bit = a10 % 2;
a10 = a10 / 2;
ans.add(bit);
}while(a10 > 0);
for (int i = ans.size(); i > 0; i--) {
System.err.print(ans.get(i - 1));
}
}
}
yengo หรือ buzzcity
วันพุธที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมแปลงเลขฐาน 2 เป็นเลขฐาน 10
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมแปลงเลขฐาน 2 เป็นเลขฐาน 10
ตัวอย่างโค้ด
ผลลัพธ์ที่ได้
yengo หรือ buzzcity
วันอังคารที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมบวก Matrix 2 มิติ
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมบวก Matrix 2 มิติ
ตัวอย่างโค้ด
ผลลัพธ์ที่ได้
yengo หรือ buzzcity
วันจันทร์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม แสดงค่าจาก Array 2 มิติ
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม แสดงค่าจาก Array 2 มิติ
ตัวอย่างโค้ด
ผลลัพธ์ที่ได้
row 1 col 1 : 1row 1 col 2 : 2
row 1 col 3 : 3
row 2 col 1 : 4
row 2 col 2 : 5
row 2 col 3 : 6
row 3 col 1 : 7
row 3 col 2 : 8
row 3 col 3 : 9
row 4 col 1 : 10
row 4 col 2 : 11
row 4 col 3 : 12
yengo หรือ buzzcity
วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม โปรแกรมคำนวณพื้นที่วงกลม
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม โปรแกรมคำนวณพื้นที่วงกลม
ตัวอย่างโค้ด
import java.util.Scanner;
public class CodeFromDoesystem {
public static void main(String[] args) throws Exception {
Scanner in = new Scanner(System.in);
System.out.print("Input Circle Radius : ");
double radius = in.nextDouble();
double result = Math.PI * radius * radius;
System.out.println("The Circle Area = " + result);
}
}
yengo หรือ buzzcity
วันเสาร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม โปรแกรมหาเส้นรอบวงสี่เหลี่ยม
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม โปรแกรมหาเส้นรอบวงสี่เหลี่ยม
ตัวอย่างโค้ด
yengo หรือ buzzcity
วันศุกร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม แม่สูตรคูณ
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม แม่สูตรคูณ
ตัวอย่างโค้ด
yengo หรือ buzzcity
วันพฤหัสบดีที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโปรแกรมจำลองตู้ ATM การถอนเงิน ฝากเงิน โดยใช้ Java
ตัวอย่างโปรแกรมจำลองตู้ ATM การถอนเงิน ฝากเงิน โดยใช้ Java
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม
yengo หรือ buzzcity
วันพุธที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมคำนวณค่าจอดรถ
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมคำนวณค่าจอดรถ
ต้องการเขียนโปรแกรมโดยมีเงื่อนไขดังนี้- มีการส่งพารามิเตอร์ดังนี้ double xxx(Date TimeIn , Date TimeOut)
- 3 ชั่วโมงแรกคิดค่าจอด 20 บาท ต่อไปชั่วโมงละ 10 บาท ถ้าเกิน 30 นาทีปัดขึ้น น้อยกว่าปัดลง
- ถ้าเกิน 24 ชั่วโมง คิดค่าจอดเป็นวัน วันละ 500 บาท เศษที่เกินคิดตาม Concept ข้างต้น
import java.math.RoundingMode;
import java.text.DateFormat;
import java.text.NumberFormat;
import java.text.ParseException;
import java.text.SimpleDateFormat;
import java.util.Date;
import java.util.Scanner;
public class parking {
public static void main(String[] args) throws ParseException {
Scanner in = new Scanner(System.in);
DateFormat formatT = new SimpleDateFormat("yyyy-MM-dd-HH-mm");
System.out.print("TimeIn(yyyy-MM-dd-HH-mm) : ");
String fromin = in.nextLine();
Date din = formatT.parse(fromin);
System.out.print("TimeOut(yyyy-MM-dd-HH-mm) : ");
String fromout = in.nextLine();
Date dout = formatT.parse(fromout);
System.out.println("You will have to pay : " + kidTang(din, dout) + " Baht");
}
public static double kidTang(Date datein, Date dateout){
double sum = 0;
double milliTime = dateout.getTime() - datein.getTime();
NumberFormat nf = NumberFormat.getNumberInstance();
nf.setMaximumFractionDigits(0);
nf.setRoundingMode(RoundingMode.HALF_UP);
int hour = Integer.parseInt(nf.format(milliTime/(1000*60*60)));
sum = sum + (hour/24)*500;
hour = hour%24;
if(hour <= 3) sum = sum + hour*20;
else sum = sum + 3*20 + (hour-3)*10;
return sum;
}
}
yengo หรือ buzzcity
วันอังคารที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมที่หาว่ามีตัวเลขคู่ใน Array กี่ตัว
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมที่หาว่ามีตัวเลขคู่ใน Array กี่ตัว
ตัวอย่างโค้ด
yengo หรือ buzzcity
วันจันทร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม Reverse ข้อความ
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม Reverse ข้อความ
ตัวอย่างโค้ด
ตัวอย่างโค้ดอีกแบบ
yengo หรือ buzzcity
วันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2557
เขียนโปรแกรม หาตัวเลขฟีโบนัชชี (fibonacci)
เขียนโปรแกรม หาตัวเลขฟีโบนัชชี (fibonacci)
จำนวนฟีโบนัชชีคืออะไร
จำนวนฟีโบนัชชี หรือ เลขฟีโบนัชชี (Fibonacci number) คือลำดับของจำนวนเต็ม โดยมีนิยามของความสัมพันธ์ว่า จำนวนถัดไปเท่ากับผลบวกของจำนวนสองจำนวนก่อนหน้า และสองจำนวนแรกก็คือ 0 และ 1 ตามลำดับตัวอย่างโค้ดโปรแกรม
ตัวอย่างนี้เป็นตัวอย่างการหาตัวเลขฟีโบนัชชีตัวถัดไป
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม
import java.util.Scanner;public class Fibonacci {
public static void main(String[] args) {
Scanner in = new Scanner(System.in);
System.out.print("Input Number For Max Fibonacci : ");
long max = in.nextLong();
int first = 0;
int second = 1;
int fibonac;
System.out.print("0 1");
while(true){
fibonac = first + second;
first = second;
second = fibonac;
if(fibonac > max) {
System.out.println();
break;
}
System.out.print(" " + fibonac);
}
}
}
ตัวอย่างนี้เป็นตัวอย่างที่แสดงตัวเลขฟีโบนัชชีตามที่กำหนด
yengo หรือ buzzcity
วันเสาร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม การเพิ่มวัน
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม การเพิ่มวัน
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม
yengo หรือ buzzcity
วันศุกร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมที่เช็คว่าวันแรกกับวันที่สอง ต่างกันกี่วัน
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมที่เช็คว่าวันแรกกับวันที่สอง ต่างกันกี่วัน
yengo หรือ buzzcity
วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดเปรียบเทียบวันสองวัน ว่า วันแรก เท่ากับ ก่อน หรือหลัง วันที่สอง
ตัวอย่างโค้ดเปรียบเทียบวันสองวัน ว่า วันแรก เท่ากับ ก่อน หรือหลัง วันที่สอง
ตัวอย่างนี้เป็นการเปรียบเทียบ โดยมีวันสองวัน แล้วนำมาเปรียบเทียบว่า วันแรก เป็นวันเดียวกัน เป็นวันก่อนหน้า หรือว่าเป็นวันหลังวันที่สองตัวอย่างโค้ดโปรแกรม
import java.text.DateFormat;import java.text.ParseException;
import java.text.SimpleDateFormat;
import java.util.Date;
public class DateIndex {
public static void main(String[] args) throws ParseException{
DateFormat df = new SimpleDateFormat ("yyyy-MM-dd");
Date d1 = df.parse("2555-01-01");
Date d2 = df.parse("2555-01-02");
String relation = null;
if (d1.equals(d2)) relation = "the same date as";
else if (d1.before(d2)) relation = "before";
else if (d1.after(d2)) relation = "after";
System.out.println(d1 + " is " + relation + " " + d2);
}
}
yengo หรือ buzzcity
วันพุธที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมการปัดเศษ และจำนวนของทศนิยม
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมการปัดเศษ และจำนวนของทศนิยม
ตัวอย่างโปรแกรม
yengo หรือ buzzcity
วันอังคารที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโปรแกรมหาค่า ห.ร.ม.
ตัวอย่างโปรแกรมหาค่า ห.ร.ม.
ตัวอย่างโปรแกรม ตัวอย่างแรก
ตัวอย่างโปรแกรม ตัวอย่างที่สอง
ตัวอย่างโปรแกรม ตัวอย่างที่สาม
ตัวอย่างโปรแกรม ตัวอย่างที่สี่
yengo หรือ buzzcity
วันจันทร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโปรแกรมเลขประจำตัวประชาชน โดยใช้ภาษา Java
ตัวอย่างโปรแกรมเลขประจำตัวประชาชน โดยใช้ภาษา Java
ตัวอย่างนี้เป็นตัวอย่างหาค่า checkbit ตัวสุดท้ายของเลขประจำตัวประชาชนตัวอย่างโค้ด
import java.util.Scanner; //import util.scanner เพื่อใช้สำหรับรับค่าpublic class IDPerson {
public static void main(String[] args) {
long id = 0;
while(true){ //วนจนกว่าจะป้อนค่าที่ถูกต้อง
try {
Scanner in = new Scanner(System.in); //สร้างตัวแปร scanner เพื่อรับค่าทางแป้นพิมพ์
System.out.print("กรุณากรอกรหัสประจำตัว 12 หลัก "); //แสดงให้ผู้กรอกรู้ว่าต้องกรอกตัวเลข
id = in.nextLong(); //รับค่าจากแป้นพิมพ์เป็นชนิด long
String checkbit = id + ""; //สร้างตัวแปร checkbit เป็นชนิดสตริงเพื่อตรวจสอบความยาวของตัวเลข
if(checkbit.length() == 12) break; //check ว่าค่าที่รับเข้ามามีขนาดกี่หลัก ถ้ามีสิบสองหลักให้ break ออกจาก loop
}catch (Exception e) {
}
}
long base = 100000000000l; //สร้างตัวแปร เพื่อสำหรับให้หารเพื่อเอาหลักที่ต้องการ
int basenow; //สร้างตัวแปรเพื่อเก็บค่าประจำหลัก
int sum = 0; //สร้างตัวแปรเริ่มตัวผลบวกให้เท่ากับ 0
for(int i = 13; i > 1; i--) { //วนรอบตั้งแต่ 13 ลงมาจนถึง 2
basenow = (int)Math.floor(id/base); //หาค่าประจำตำแหน่งนั้น ๆ
id = id - basenow*base; //ลดค่า id ลงทีละหลัก
System.out.println(basenow + "x" + i + " = " + (basenow*i)); //แสดงค่าเมื่อคูณแล้วของแต่ละหลัก
sum += basenow*i; //บวกค่า sum ไปเรื่อย ๆ ทีละหลัก
base = base/10; //ตัดค่าที่ใช้สำหรับการหาเลขแต่ละหลัก
}
System.out.println("Sum is " + sum); //แสดงค่า sum
int checkbit = (11 - (sum%11))%10; //คำนวณค่า checkbit
System.out.println("Check bit is " + checkbit); //แสดงค่า checkbit ที่ได้
}
}
ขอบคุณข้อมูลและตัวอย่างโค้ดจาก http://localhost/Doesystem/79d9751f5edf6a85060538844bb4537c/โปรแกรมเลขบัตรประจำตัวประชาชน-โดยใช้-Java.htm
yengo หรือ buzzcity
วันอาทิตย์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโปรแกรมเช็คว่าวันสองวันเป็นวันเดียวกันหรือเปล่า โดยใช้ภาษา Java
ตัวอย่างโปรแกรมเช็คว่าวันสองวันเป็นวันเดียวกันหรือเปล่า โดยใช้ภาษา Java
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม
yengo หรือ buzzcity
วันเสาร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ด โปรแกรมคำนวณเกรด โดยภาษา Java
ตัวอย่างโค้ด โปรแกรมคำนวณเกรด โดยภาษา Java
ตัวอย่างโค้ด ตัวอย่างแรก
ตัวอย่างโค้ด ตัวอย่างที่สอง
ตัวอย่างโค้ด ตัวอย่างที่สาม
yengo หรือ buzzcity
วันศุกร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ด โปรแกรมหาพื้นที่สามเหลี่ยม
ตัวอย่างโค้ด
import java.util.Scanner;
public class Main {
public static void main(String[] args ) {
Scanner in = new Scanner(System.in);
System.out.print("Input width : ");
double width = in.nextDouble();
System.out.print("Input height : ");
double height = in.nextDouble();
System.out.println("-----------------------");
System.out.println("The triangular area : " + 0.5 * width * height);
}
}
ตัวอย่างนี้รับค่าจากแป้นพิมพ์ ด้วย Scanner จากนั้นรับค่ามาสองค่านั่นคือ ความกว้าง กับความสูง เนื่องจากสูตรของพื้นที่สามเหลี่ยมคือ (0.5 * ฐาน * สูง) จากนั้นก็แสดงออกมาทางหน้าจอ
yengo หรือ buzzcity
วันพุธที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ด โปรแกรมหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
ตัวอย่างโค้ด โปรแกรมหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
ตัวอย่างโค้ด
ตัวอย่างโค้ด
yengo หรือ buzzcity
วันอังคารที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2557
เขียนโปรแกรมแปลงตัวอักษรเป็นรหัส ACSII โดย Java
เขียนโปรแกรมแปลงตัวอักษรเป็นรหัส ACSII โดย Java
เรามาดูตัวอย่างโปรแกรมที่รับค่าตัวอักษรมา แล้วนำมาแปลงเป็นรหัส ACSII กันครับตัวอย่างโค้ด
import java.io.BufferedReader;
import java.io.InputStreamReader;
public class CodeFromDoesystem {
public static void main(String[] args) throws Exception {
BufferedReader str = new BufferedReader(new InputStreamReader(System.in));
System.out.print("Insert Number : ");
int s = str.read();
System.out.println("Convert to ACSII : " + s);
}
}
yengo หรือ buzzcity
วิธีใช้ และตัวอย่างโค้ด java.math.BigInteger.clearBit(int n)
วิธีใช้ และตัวอย่างโค้ด java.math.BigInteger.clearBit(int n)
เรามาดูโค้ดตังอย่างวิธีใช้ของโค้ด java.math.BigInteger.clearBit(int n)การ clearBit นั้น ค่าที่ออกมาจะได้ (this & ~(1<<n))
ตัวอย่างโค้ด
import java.math.BigInteger; public class BigIntegerExam { public static void main(String[] args) { BigInteger bi1 = new BigInteger("7"); System.out.println(bi1.clearBit(2)); // 3 // 7 = 111, 111 << 2 = 11100, ~11100 = 00011, 111 & 00011 = 00011 = 3 int testbit = 7; // 111 , 7 << 1 = 14 = 1110, 7 << 2 = 28 = 11100 System.out.println(testbit << 2); // 28 } }
ตัวอย่างนี้ เรามี BigInteger มีค่าเป็น 7 จากนั้นำมา clearBit(2) ซึ่งจะได้ 3
สังเกตุจากตัวอย่างการ testbit จะได้ว่า 7 <<< 2 = 11100 เมื่อนำมา Not จะได้ 00011 จากนั้นนำ 111 มา And กับ 00011 ก็จะได้ 00011 ซึ่งก็เท่ากับ 3
yengo หรือ buzzcity
วันจันทร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรมรับค่า ชื่อ แล้วแสดงออกทางหน้าจอ
ตัวอย่างโค้ดตัวอย่างแรก
package com.doesystem;import java.io.BufferedReader;
import java.io.IOException;
import java.io.InputStreamReader;
public class CodeFromDoesystem {
public static void main(String[] args) throws IOException {
BufferedReader str = new BufferedReader(new InputStreamReader(System.in));
System.out.print("Insert Name : ");
String s = str.readLine();
System.out.println("Yourname " + s );
}
}
ตัวอย่างโค้ดตัวอย่างที่ 2
yengo หรือ buzzcity
ตัวอย่างโค้ด และการใช้งาน java.math.BigInteger.andNot(BigInteger val)
ซึ่งค่าที่นำมาแอน จำนำมา Not ก่อน
ตัวอย่างโค้ด
public class BigIntegerExam { public static void main(String[] args) { BigInteger bi1 = new BigInteger("6"); // 110 BigInteger bi2 = new BigInteger("3"); // 011 ~010=101 System.out.println(bi1.andNot(bi2)); // 100 bi1 = new BigInteger("5"); // 0101 bi2 = new BigInteger("8"); // 1000 ~1000=0111 System.out.println(bi1.andNot(bi2)); // 0101 } }
ตัวอย่างนี้ มี BigInteger สองตัว จากนั้นนำมา andNot กัน ซึ่งตัวที่ทำมา And นั้น ต้อง Not ก่อน ตัวอย่างเช่น 3 ซึ่งมีบิตเป็น 011 เมื่อนำมา Not แล้วจะได้ 101 เมื่อนำมา And กับ ุ6 ซึ่งก็คือ 110 จะได้ 100
yengo หรือ buzzcity
วันอาทิตย์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโปรแกรมหาผลบวกของสองจำนวน โดย Java
ซึ่งจำนวนสองจำนวนนั้นเป็นการรับค่ามาจาก keyboard
ตัวอย่างโค้ด
import java.util.Scanner; public class Main { public static void main(String[] args) { Scanner Sc = new Scanner(System.in); System.out.print("Insert Number1 : "); int First = Sc.nextInt(); System.out.print("Insert Number2 : "); int Second = Sc.nextInt(); System.out.println("Sum : " + (First + Second) ); } }
จากโค้ดตัวอย่างมีการรับค่ามาจาก keyboard โดยรับเป็นจำนวนเต็ม Int สองจำนวน แล้วนำสองจำนวนนั้นมาบวกกัน แสดงออกทางหน้าจอ
เราใช้ Scanner ในการบอกว่าจะรับค่า และ System.in บอกว่าจะรับค่ามาจาก keyboard เมื่อได้ตัวแปรที่เป็น Scanner แล้ว เราก็ใช้ nextInt เพื่อรับค่ามาแบบจำนวนเต็ม Int
yengo หรือ buzzcity
ตัวอย่างโค้ด และการใช้งาน java.math.BigInteger.and(BigInteger val)
java.math.BigInteger.and(BigInteger val) จะ returns ค่า BigInteger ที่มีค่ามาแอนกัน
ตัวอย่างโค้ด
import java.math.BigInteger; public class BigIntegerExam { public static void main(String[] args) { BigInteger bi1 = new BigInteger("6"); // 110 BigInteger bi2 = new BigInteger("3"); // 011 System.out.println(bi1.and(bi2)); // 010 bi1 = new BigInteger("5"); // 0101 bi2 = new BigInteger("8"); // 1000 System.out.println(bi1.and(bi2)); // 0000 } }
จากโค้ดด้านบนเรามี BigInteger ที่มีค่า 6 กับ 3 ซึ่งเราสามารถแยกบิตได้ 6 = 110 และ 3 = 011 เมื่อนำมา and กัน จะได้ 010 ซึ่งถ้าบิตเป็นหนึ่งทั้งคู่ จะเป็น 1 นอกนั้นเป็น 0
yengo หรือ buzzcity
วันเสาร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างโค้ด และการใช้งาน java.math.BigInteger.abs()
java.math.BigInteger.abs() จะ returns ค่าเป็น BigInteger ที่มีค่าเป็น absolute
import java.math.BigInteger; public class BigIntegerExam { public static void main(String[] args) { BigInteger bi1 = new BigInteger("456"); BigInteger bi2 = new BigInteger("-456"); System.out.println("Absolute value of " + bi1 + " is " + bi1.abs()); // Absolute value of 456 is 456 System.out.println("Absolute value of " + bi2 + " is " + bi2.abs()); // Absolute value of -456 is 456 } }
จากตัวอย่างข้างต้น เรามี BigInteger ซึ่งตัวแรกมีค่า 456 อีกตัวมีค่า -456 เมื่อนำไปหาค่าโดยเรียกใช้ method abs ซึ่งค่าที่ return มานั้น ตัวแรกก็ให้ค่า 456 เหมือนเดิม ส่วนอีกตัว ก็จะได้ค่า 456 ซึ่งเป็นค่า Absolute ของ -456
yengo หรือ buzzcity
ตัวอย่างโค้ด และการใช้งาน java.math.BigInteger.add(BigInteger val)
import java.math.BigInteger; public class BigIntegerExam { public static void main(String[] args) { BigInteger bi1 = new BigInteger("456"); BigInteger bi2 = new BigInteger("789"); System.out.println(bi1.add(bi2)); // output : 1245 (456 + 789) System.out.println(bi1); // output : 456 bi1 = bi1.add(bi2); System.out.println(bi1); // output : 1245 System.out.println(bi1.add(BigInteger.valueOf(1))); // output : 1246 } }
จากตัวอย่างโค้ดข้างบน เราสร้าง BigInteger ขึ้นมาสองตัว โดยตัวแรกมีค่า 456 อีกตัวมีค่า 789 เราเอาตัวแรกมาเรียกใช้ method add แล้วก็ส่ง BigInteger ตัวที่สองไป ผลลัพธ์ที่ได้ ก็คือ 1245 ซึ่งก็คือค่า 456 + 789 นั่นเอง
yengo หรือ buzzcity